1. ระบบการเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการติดตามหรือประเมินผลการดำเนินงานขององค์กร
- ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (info)
- ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ (e-LAAS)
- ระบบสารสนเทศเพื่อการวางแผนและประเมินผลของ อปท. (e-plan)
ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่นและทะเบียน อปท. (ELE)
- ระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (Ihr)
- ระบบเบี้ยยังชีพ
- ระบบสารสนเทศ เรื่องแบบสำรวจแหล่งน้ำที่มีผักตบชวาใน อปท.
- ระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอย ของ อปท.
- ระบบประกันสังคม (SSO)
- ระบบสารสนเทศทางการศึกษาท้องถิ่น (Lec)
2. มีระบบการรายงานผล และเปรียบเทียบผลการดำเนินงานกับเป้าหมาย
- ระบบบัญชีสารสนเทศเพื่อการวางแผนและเมินผลของ อปท.(e-plan)
- ระบบสาระสนเทศทากงการศึกษาท้องถิ่น (Lec)
- ระบบศูนย์ข้อมูลเลือกตั้งผู้บริหาร สมาชิกสภาท้องถิ่นและทะเบียน อปท. (ELE)
- ระบบจัดการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
3. มีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บข้อมูลพื้นฐานที่ใช้ในการบริหาร และจัดการความเสี่ยง
4. มีการนำระบบสารสนเทศและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการควบคุมภายใน และตรวจสอบภายใน
5. มีระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการเก็บรวบรวมข้อมูลด้าน Competency ของบุคลากร ทุกตำแหน่งที่องค์กรต้องการและที่บุคลากรทุกคนมีอยู่
ระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (Ihr)
- มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
- สมรรถนะประจำตำแหน่ง
- กำหนดตัวชี้วัด (ค่า KPT)
6. มีระบบสารสนเทศที่เก็บข้อมูลทะเบียนประวัติบุคลกรอย่างครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน
7. ระบบสารสนเทศที่สามารถ Share ข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องภายนอกองค์กรได้
8. มีการนำระบบสนเทศมาตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในองค์กร (เช่นการลดขั้นตอนและการอำนวยความสะดวกแก่พนักงานและผู้รับบริการภายในองค์กร หรือลดต้นทุนการผลิตหรือต้นทุนการให้บริการ)
- ระบบงานสารบรรณในองค์กร
- ระบบ IIT ผ่านระบบ ITA
https://itas.nacc.go.th/account/login
9. มีระบบ Back Office ที่สามารถ Share ข้อมูลระหว่างหน่วยงานอื่นภายในองค์กรได้
10. มีการนำระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
- เว็บไซต์อบต.แหลมตะลุมพุก
2. แผนแม่บทสารสนเทศ
3. ระบบฐานข้อมูลที่รวดเร็วและค้นหาข้อมูลได้ง่าย